วิธีการคำนวณและวิธีเลือก ขนาดแอร์ ให้เหมาะสมกับห้อง

ขนาดแอร์,ตรวจบ้าน,ตรวจรับบ้าน,ตรวจคอนโด,ตรวจรับบ้าน,ตรวจคอนโด,ตรวจบ้านก่อนโอน,ตรวจ บ้าน pantip,บริษัท ตรวจ รับ บ้าน,บริษัท รับ ตรวจ บ้าน,ตรวจรับคอนโด,บริษัทรับตรวจบ้าน,ตรวจบ้าน ราคา,บริษัท ตรวจบ้าน,รับตรวจบ้านก่อนโอน,รีวิว ตรวจ รับ บ้าน pantip,ตรวจ รับ บ้าน ก่อน โอน,บริษัทตรวจบ้าน,บริษัทตรวจรับบ้าน,ตรวจ บ้าน ก่อน โอน,บริษัท ตรวจ รับ บ้าน ที่ไหน ดี,บริษัท ตรวจ รับ บ้าน pantip,ตรวจรับบ้านก่อนโอน,วิธี ตรวจ รับ คอน โด , ตรวจบ้าน เจ้าไหนดี,ตรวจห้องคอนโด,ตรวจ รับ คอน โด ก่อน โอน,ช่างตรวจบ้าน,บริษัท รับตรวจบ้าน,บริษัท ตรวจรับบ้าน,การตรวจบ้านก่อนโอน, การตรวจรับบ้านก่อนโอน, การตรวจรับบ้าน,รับตรวจบ้าน,การ ตรวจ รับ บ้าน,บริษัทรับตรวจบ้าน,Inspector, ตรวจสอบอาคาร,S Inspector

บทความก่อนหน้านี้จะเป็นการให้ข้อมูล และเน้นถึงความสำคัญของการ ตรวจบ้าน ตรวจคอนโด ซึ่งเป็นกระบวนการก่อนรับโอนบ้าน รับโอนคอนโด ในบทความนี้จะมาพูดถึงขั้นตอนหลังการตรวจบ้าน หรือตรวจคอนโดกันบ้าง เป็นเรื่องของวิธีการคำนวณและวิธีเลือก ขนาดแอร์ ให้เหมาะสมกับแต่ละห้อง ความสำคัญของการเลือกขนาดแอร์ที่ถูกต้องจะช่วยให้อากาศในห้องเย็นสบาย ประหยัดไฟ และช่วยให้แอร์ทำงานไม่หนัก ไม่พังง่าย

เครื่องปรับอากาศ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า แอร์ เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น และคุณภาพของอากาศภายในอาคาร ทำให้เย็นสบาย เหมาะแก่การอยู่อาศัยหรือทำงาน

สารบัญบทความ

ขนาดแอร์ มีผลอย่างมากต่อความเย็น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทยที่มีอากาศร้อนตลอดทั้งปี จำเป็นต้องเปิดแอร์ไม่เว้นแม้แต่ในฤดูหนาว

 

ก่อนที่เราจะแนะนำวิธีเลือก ขนาดแอร์ เรามาทำความรู้จักกันก่อนว่าแอร์มีกี่ประเภท

ประเภทของแอร์

1. แอร์ติดผนัง

แอร์ติดผนัง (Wall Type Air Conditioner) เป็นเครื่องปรับอากาศแบบหนึ่งที่ติดตั้งบนผนังภายในห้อง นิยมใช้มากที่สุดในบ้านเรือน อาคารสำนักงาน และสถานที่อื่นๆ

ลักษณะของแอร์ติดผนัง

ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก คือ คอยล์เย็นติดตั้งภายในห้อง และคอยล์ร้อนติดตั้งภายนอก มีหลายขนาดให้เลือกใช้ ขึ้นอยู่กับขนาดห้อง มีทั้งแบบ Inverter และ Non-Inverter มีฟังก์ชั่นการใช้งานหลากหลาย เช่น ระบบปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ ตั้งเวลาเปิดปิด ระบบกรองอากาศ

2. แอร์แขวนเพดาน

แอร์แขวนเพดาน คือ แอร์ที่คล้ายกับแอร์ติดผนัง แต่จะเปลี่ยนจากการติดผนังเป็นติดกับฝ้าเพดาน แต่จะมีขนาดที่ใหญ่กว่าแอร์ติดผนัง เพื่อให้กระจายความเย็นได้ทั่วถึง เหมาะสำหรับห้องขนาดใหญ่

แอร์แขวนผนัง,ตรวจบ้าน,ตรวจรับบ้าน,ตรวจคอนโด,ตรวจรับบ้าน,ตรวจคอนโด,ตรวจบ้านก่อนโอน,ตรวจ บ้าน pantip,บริษัท ตรวจ รับ บ้าน,บริษัท รับ ตรวจ บ้าน,ตรวจรับคอนโด,บริษัทรับตรวจบ้าน,ตรวจบ้าน ราคา,บริษัท ตรวจบ้าน,รับตรวจบ้านก่อนโอน,รีวิว ตรวจ รับ บ้าน pantip,ตรวจ รับ บ้าน ก่อน โอน,บริษัทตรวจบ้าน,บริษัทตรวจรับบ้าน,ตรวจ บ้าน ก่อน โอน,บริษัท ตรวจ รับ บ้าน ที่ไหน ดี,บริษัท ตรวจ รับ บ้าน pantip,ตรวจรับบ้านก่อนโอน,วิธี ตรวจ รับ คอน โด , ตรวจบ้าน เจ้าไหนดี,ตรวจห้องคอนโด,ตรวจ รับ คอน โด ก่อน โอน,ช่างตรวจบ้าน,บริษัท รับตรวจบ้าน,บริษัท ตรวจรับบ้าน,การตรวจบ้านก่อนโอน, การตรวจรับบ้านก่อนโอน, การตรวจรับบ้าน,รับตรวจบ้าน,การ ตรวจ รับ บ้าน,บริษัทรับตรวจบ้าน,Inspector, ตรวจสอบอาคาร,S Inspector

3. แอร์ตั้งพื้น

แอร์ตั้งพื้น คือ แอร์ที่มีลักษณะคล้ายแอร์ติดผนัง แต่จะติดตั้งบนพื้นในแนวตั้ง เหมาะสำหรับห้องขนาดเล็ก แต่จะมีข้อแตกต่างจากแอร์ 2 ประเภทข้างต้น ตรงที่แอร์จะไม่พัดมาโดน หรือสัมผัสร่างกายโดยตรง และทำความสะอาดได้ง่าย

ลักษณะของแอร์ตั้งพื้น

มีขนาดใหญ่ สูงประมาณ 165-180 เซนติเมตร ช่องเป่าลมอยู่ด้านบนของตัวเครื่อง มีรีโมทควบคุมสำหรับปรับอุณหภูมิและฟังก์ชั่นต่างๆ มีล้อสำหรับเคลื่อนย้าย
มีหลายรุ่น หลายขนาด หลายราคา

4. แอร์ฝังฝ้าเพดาน

แอร์แขวนเพดาน หรือ แอร์ฝังฝ้า (Cassette Type Air Conditioner) เป็นเครื่องปรับอากาศแบบติดตั้งบนฝ้าเพดาน เหมาะสำหรับห้องที่มีฝ้าเพดานสูง ช่วยประหยัดพื้นที่ภายในห้อง เหมาะกับห้องขนาดใหญ่ เช่น ห้องประชุม ร้านอาหาร

ลักษณะเด่นของแอร์ฝังฝ้าเพดาน

ดีไซน์สวยงาม กลมกลืนกับฝ้าเพดาน ประหยัดพื้นที่ เหมาะกับห้องที่มีพื้นที่จำกัด กระจายลมเย็นได้ทั่วถึง ด้วยระบบกระจายลม 4 ทิศทาง เสียงรบกวนต่ำ เหมาะกับห้องที่ต้องการความเงียบสงบ มีระบบกรองอากาศ ช่วยให้หายใจสะอาด มีรีโมทควบคุม สะดวกต่อการใช้งาน

แอร์ฝังฝ้า,ตรวจบ้าน,ตรวจคอนโด,S Inspector,ตรวจคอนโด,ตรวจรับบ้าน,ตรวจคอนโด,ตรวจบ้านก่อนโอน,ตรวจ บ้าน pantip,บริษัท ตรวจ รับ บ้าน,บริษัท รับ ตรวจ บ้าน,ตรวจรับคอนโด,บริษัทรับตรวจบ้าน,ตรวจบ้าน ราคา,บริษัท ตรวจบ้าน,รับตรวจบ้านก่อนโอน,รีวิว ตรวจ รับ บ้าน pantip,ตรวจ รับ บ้าน ก่อน โอน,บริษัทตรวจบ้าน,บริษัทตรวจรับบ้าน,ตรวจ บ้าน ก่อน โอน,บริษัท ตรวจ รับ บ้าน ที่ไหน ดี,บริษัท ตรวจ รับ บ้าน pantip,ตรวจรับบ้านก่อนโอน,วิธี ตรวจ รับ คอน โด ,ตรวจบ้าน เจ้าไหนดี,ตรวจห้องคอนโด,ตรวจ รับ คอน โด ก่อน โอน,ช่างตรวจบ้าน,บริษัท รับตรวจบ้าน,บริษัท ตรวจรับบ้าน,การตรวจบ้านก่อนโอน,การตรวจรับบ้านก่อนโอน,การตรวจรับบ้าน,รับตรวจบ้าน,การ ตรวจ รับ บ้าน,บริษัทรับตรวจบ้าน,Inspector,ตรวจสอบอาคาร,โดรนตรวจบ้าน

พูดถึงประเภทของแอร์ไปแล้ว คำศัพท์ที่ใช้เรียกขนาดแอร์คือ BTU หรือย่อมาจาก British Thermal Unit เป็นหน่วยวัดพลังงานความร้อนตามมาตรฐานสากล โดยเมื่อนำมาใช้กับแอร์ BTU จะอธิบายถึงความสามารถในการถ่ายเทความร้อนออกจากห้องนั้นๆ ภายในเวลา 1 ชั่วโมง เช่น แอร์ขนาด 18,000 BTU หมายความว่าแอร์ สามารถไล่ความร้อนออกจากห้องได้ 18,000 BTU ในเวลา 1 ชั่วโมง ซึ่งความสามารถในการไล่ความร้อนแล้วแทนที่ด้วยความเย็นก็จะสูงขึ้นไปตามขนาดของ BTU

วิธีการคำนวณขนาดแอร์ มีสูตรสำเร็จในการคำนวณดังนี้

พื้นที่ห้อง (ตร.ม.) x ค่าความต่าง (cooling load) = BTU

*โดยค่าความต่าง หรือ Cooling load คือค่าความร้อนที่เกิดขึ้นภายในแต่ละห้อง โดยมีค่าประมาณอยู่ที่ 700-800 BTU/ตร.ม.*

ตัวอย่างการคำนวณ 

  • ห้องขนาด กว้าง 4 เมตร ยาว 6 เมตร (4*6 เมตร = 24 ตร.ม.) 
  • Cooling load โดยประมาณ 800 BTU/ตร.ม.
  • ขนาดแอร์ที่เหมาะสมจึงอยู่ที่ (24*800 = 19,200 BTU)

นอกจากขนาดของแอร์แล้ว ยังมีปัจจัยอื่นๆสามารถนำมาพิจารณาก่อนเลือกซื้อแอร์ได้ เช่น ทิศทางของแดดที่ส่องเข้าไปที่ห้องที่ต้องการติดแอร์ ในห้องมีฉนวนกันความร้อนหรือไม่ จำนวนคนที่อยู่ในห้องนั้นเป็นประจำ 

สรุป

การเลือกแอร์ที่เหมาะกับขนาดห้องสามารถช่วยให้คุณประหยัดพลังงานและประหยัดเงินได้ในระยะยาว ทาง S Inspector ของเราหวังว่าบทความนี้จะช่วยให้คุณได้ข้อมูลในการตัดสินใจก่อนที่จะซื้อแอร์

ทำไมต้องเลือก S Inspector?

  • เรามีทีม วิศวกรตรวจบ้าน และผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ ผ่านการ ตรวจบ้าน ตรวจคอนโด มามากกว่า 5,000 ยูนิต
  • มีเครื่องมือตรวจสอบที่ทันสมัย
  • รายงานผลการ ตรวจสอบบ้าน ที่ละเอียด ชัดเจน
  • บริการหลังการขาย มีการเข้าไปตรวจซ้ำรอบที่ 2 ว่ามีการแก้ไขข้อบกพร่องเรียบร้อยดีหรือไม่

Start typing and press Enter to search

Shopping Cart

No products in the cart.